หน้าหลัก
ITA
LPA
ประกาศจากระบบ e-GP
ประกาศจากระบบ e-GP ในเครือข่าย
 
 
หน้าหลัก
หน้าหลัก
ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
บุคลากร
บุคลากร
การบริหารบุคคล
การบริหารบุคคล
ข่าวสาร
ข่าวสาร
แผน
แผน
รายงาน
รายงาน
ระเบียบ
ระเบียบ
บริการประชาชน
บริการประชาชน
 
เทศบาลตำบล พลวงสองนาง ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้
ยอมรับ
 
“ ร่วมใจพัฒนา การศึกษาก้าวไกล
ใส่ใจผู้สูงอายุ ดูแลสิ่งแวดล้อม
เพียบพร้อมคุณธรรม นำพาเศรษฐกิจพอเพียง ”
นายสมเกียรติ แสงอุทัย
นายกเทศมนตรีตำบลพลวงสองนาง
วิสัยทัศน์ ทต.พลวงสองนาง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกี่ เทศบาลตำบลพลวงสองนาง
ใส่ใจและดูแลผู้สูงอายุอย่างทั่ัวถึง
อ่างเก็บน้ำบ้านหนองชุมเห็ด
โดยเกษตรกรในตำบล
นายบุญปลูก นากก้อน
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
เทศบาลตำบล พลวงสองนาง
www.pluangsongnang.go.th
1
2
3
4
5
 
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ เทศบาลตำบลพลวงสองนาง อ.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี
 
 
 
 
 
 
  เทศบาลตำบลพลวงสองนาง มีสำนักงานทำการตั้งอยู่เลขที่ 99/9 หมู่ที่ 3 บ้านหนองกี่ ตำบลพลวงสองนาง อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสว่างอารมณ์มาทางทิศตะวันตกประมาณ 10 กิโลเมตร และระยะห่างจากอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ประมาณ 40 กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่ในเขตความรับผิดชอบจำนวน 66 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 41,250  
 
 
 
 

จำนวนประชากรตำบลพลวงสองนาง มีทั้งสิ้น 1,888 ครัวเรือน

มีความหนาแน่นเฉลี่ย 84 คน/ตารางกิโลเมตร โดยแยกเป็น

ชาย 2,767 คน คิดเป็นร้อยละ 49.69

หญิง 2,802 คน คิดเป็นร้อยละ 50.31
ทิศเหนือ ติดต่อ ตำบลบ่อยาง อำเภอสว่างอารมณ์
จังหวัดอุทัยธานี
 
ทิศใต้ ติดต่อ ตำบลหนองกระทุ่ม และตำบลตลุกดู่
อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี
ทิศตะวันออก ติดต่อ ตำบลสว่างอารมณ์สว่างแจ้งสบายใจ อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี  
ทิศตะวันตก ติดต่อ ตำบลตลุกดู่ อำเภอทัพทัน และตำบล
น้ำรอบ อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี
 
 
 
  เทศบาลตำบลพลวงสองนาง มีสำนักงานทำการตั้งอยู่เลขที่ 99/9 หมู่ที่ 3 บ้านหนองกี่ ตำบลพลวงสองนาง อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอสว่างอารมณ์มาทางทิศตะวันตกประมาณ 10 กิโลเมตร และระยะห่างจากอำเภอเมือง จังหวัด อุทัยธานี ประมาณ 40 กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่ในเขตความรับผิดชอบจำนวน 66 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 41,250 ไร่  
 
 
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน   จำนวนประชากร (คน)
ชาย          หญิง
รวม จำนวน
ครัวเรือน
  1   บ้านเขาผาลาด   421 396 817 307  
2   บ้านหนองแขวนกูบ   365 357 722 254
  3   บ้านหนองกี่   323 352 675 223  
4   บ้านวังหิน   397 442 839 276
  5   บ้านหนองชุมเห็ด   476 466 942 315  
6   บ้านหนองสมบูรณ์   466 468 934 306
  7   บ้านหนองน้ำใส   146 151 297 104  
8   บ้านโพธิ์ทอง   173 170 343 103
  รวม   2,767 2,802 5,569 1,888
                   
ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558
 
 
เกษตรกรรม 95 %
อื่นๆ 5 %
 
   
 
 
 
          เทศบาลตำบลพลวงสองนาง เป็นหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก ที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด มีฐานะเป็นนิติบุคคล สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เทศบาลตำบลพลวงสองนาง ยกฐานะขึ้นมาจาก องค์การบริหารส่วนตำบลพลวงสองนาง ขนาดเล็ก โดยผ่านมติเห็นชอบจาก สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพลวงสองนาง ในคราวประชุมสภาฯเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2550 และประกาศกระทรวงมหาดไทยให้ยกฐานะ จาก องค์การบริหารส่วนตำบลพลวงสองนาง เป็นเทศบาลตำบลพลวงสองนาง ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2550 ให้มีผลตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม 2551 เป็นต้นมา
        เทศบาลตำบลพลวงสองนาง ยกฐานะขึ้น มาจาก องค์การบริหารส่วนตำบลพลวงสองนาง ขนาดเล็ก โดยผ่านมติเห็นชอบจากสภาองค์การ บริหารส่วนตำบลพลวงสองนาง ในคราวประชุม สภาฯ เมื่อวันที่ 12 ส.ค. 2550 และประกาศ กระทรวงมหาดไทยให้ยกฐานะจาก องค์การ บริหารส่วนตำบลพลวงสองนาง เป็นเทศบาล ตำบลพลวงสองนาง ลงวันที่ 18 ธ.ค. 2550 ให้มีผลตั้งแต่วันที่ 12 ม.ค. 2551 เป็นต้นมา
        เทศบาลตำบลพลวงสองนาง แบ่งเขตเลือกตั้ง สมาชิกสภาเทศบาลตำบลพลวงสองนาง เป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาฯ จำนวน 12 คน โดยจัดให้มีการเลือกตั้ง ในรูปแบบนายกเทศมนตรี และสมาชิกสภาเทศบาลที่มาจากการเลือกตั้ง โดยตรงจากประชาชน เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2551
 
 
 
 
 
   
  ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งเป็น 2 โซน คือ
    ฝั่งตะวันตก เป็นพื้นที่ลาดเอียงราบลุ่มเชิงเขา โดยที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำเกษตรกรรมปลูก ข้าว ซึ่งสามารถทำได้ทั้งนาปี และนาปรัง พืช อายุสั้น ในฤดูร้อน เช่น ผักสวนครัว ส่วนที่ราบ สูง เหมาะแก่การปลูกพืชไร่ ถั่วเขียว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ไผ่หวาน สวนผลไม้ เช่น มะม่วง ขนุน กล้วย ฯลฯ และเลี้ยงสัตว์ทั้งสัตว์ เชิง พาณิชย์ เช่น วัว กระบือ แพะหรือสัตว์เพื่อใช้ แรงงานทางการเกษตร เช่น กระบือ วัว เป็นต้น
    ฝั่งตะวันออก เป็นพื้นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การ ทำนาข้าว สภาพภูมิอากาศ มีลักษณะร้อนชื้นใน ฤดูร้อนอากาศจะร้อน และแห้งแล้ง เกิดพายุลม ร้อนได้ง่าย เนื่องจากพื้นที่อยู่ระหว่างเขา และ ในฤดูฝน ฝนตกชุกมักจะเกิดภาวะน้ำป่าไหล หลาก และท่วมขังในที่ราบลุ่ม ในฤดูหนาวจะ ประสบกับอากาศหนาวเย็นจัดเนื่องจากพื้นที่ ติดเขาป่าไม้
 
 
 
รับเรื่องราวร้องเรียน
โทร : 093-139-2929
 
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | แผนผังเว็บไซต์
Version ขั้นต่ำของ Browser IE9 / Firefox 3.5 / Chrome / Safari4 / Opera10